You Can If You Think You Can >
Mr.Jodoi say

" โจดอยทำได้คุณก็ต้องทำได้ "

นายเกรียงศักดิ์ นามโคตร (อาจารย์ดอย)

ผู้ก่อตั้ง บริษัทโจดอย ไอทีแอนด์เซอร์วิส จำกัด ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการบริษัทโจดอย ไอทีแอนด์เซอร์วิส จำกัดและเป็นวิทยากรบรรยายพิเศษให้กับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน

Certifications :
- CCNA (Cisco Certify Nework Associate)
- CCNA Security (Cisco Certified Network Associate Security)
- CCDA (Cisco Certified Design Associate)
- Cisco Express Foundation Design Specialist
- CCNP (Cisco Certified Network Professional)
- CCDP (Cisco Certified Design Professional)
- SBCSEN , SBCSAM , SMBAM , SMBEN , CQS-SMBE from Cisco SMB University
- CompTIA Linux+
- CompTIA Security+
- Pearson VUE Certified Administrator

More

--------------------------------------------------------------------

Basic Network Command by Mr.Jodoi

มาเรียนรู้การใช้ Network Command เบื้องต้นกันนะครับ ขอแนะนำ command ping และ command traceroute จากวีดีโอที่อาจารย์เกรียงศักดิ์ นามโคตร (อาจารย์ดอย) ทำไว้ใน youtube ครับ


IP Address version 4 ตอนที่ 1 by Jodoi

มาเรียนรู้การคำนวณ IP Address version 4 ด้วยเทคนิคการใช้ตารางมหัศจรรย์ซึ่งทำให้ศิษย์นำไปใช้ในการทำงานและการสอบ Cert.IT ได้อย่างดีเยี่ยม

Basic Linux Command ตอนที่ 1 (ls,cat,vi)by Jodoi

มาเรียนรู้การใช้ Linux Command เบื้องต้นกันครับ เริ่มต้นด้วย command ls , cat และ vi ซึ่งปัจจุบันมีความจำเป็นต้องเรียนรู่อย่างยิ่งเพราะหลายๆองค์กรมีการใช้ Linux Server กันมากขึ้น

 

และยังมีวีดีโอดีๆอีกมากมายรับชมได้ใน แชลแนล Mr.Jodoi ตามด้านล่างนะครับ

https://www.youtube.com/user/MrJodoi

 



เรียนรู้การ Config OSPF บน Router CISCO กันครับ

ควรอ่านบทความ Routing Protocol เพื่อเป็นพื้นฐานก่อนได้ที่ https://www.jodoi.org/router%20protocal.html

จากรูปภาพด้านบนมีการออกแบบให้มีการใช้ Routing Protocol เป็น OSPF โดยแบ่งเป็น 3 Area คือ Area 0 , Area 1 และ Area 2 ก่อนที่จะประกาศ Routing ไม่ว่าจะเป็น Routing Protocol ประเภทใดสิ่งที่ต้องทำก่อนคือการต่อสายเชื่อมต่อและ Set IP Address ให้ถูกต้องก่อนครับ ดังตัวอย่างด้านล่างการ Set IP Address ของ Router R1, R2 , ABR2 และ SW-L3

R2(config)#interface f0/0
R2(config-if)#ip address 10.10.10.9 255.255.255.252
R2(config-if)#no shutdown


R2(config)#interface s0/0
R2(config-if)#ip address 10.10.10.6 255.255.255.252
R2(config-if)#no shutdown
R2(config-if)#exit


R2(config)#interface loopback 0
R2(config-if)#ip address 1.1.1.1 255.255.255.255
R2(config-if)#exit

R1(config)#interface s0/0
R1(config-if)#ip address 10.10.10.5 255.255.255.252
R1(config-if)#no shutdown


R1(config)#interface f0/0
R1(config-if)#ip address 172.16.1.3 255.255.255.248
R1(config-if)#no shutdown
R1(config-if)#exit


R1(config)#interface loopback 0
R1(config-if)#ip address 4.4.4.4 255.255.255.255

ABR2(config)#interface g0/0
ABR2(config-if)#ip address 10.10.10.10 255.255.255.252
ABR2(config-if)#no shutdown
ABR2(config-if)#exit

ABR2(config)#interface g0/1
ABR2(config-if)#ip address 172.17.1.1 255.255.255.252
ABR2(config-if)#no shutdown

ABR2(config)#interface loopback 0
ABR2(config-if)#ip address 2.2.2.2 255.255.255.255

SW-L3(config)#interface g0/0
SW-L3(config-if)#no switchport
SW-L3(config-if)#ip address 172.17.1.2 255.255.255.252
SW-L3(config-if)#exit

SW-L3(config)#vlan 20
SW-L3(config)#interface g0/1
SW-L3(config-if)#switchport trunk encapsulation dot1q
SW-L3(config-if)#switchport mode trunk

SW-L3(config)#interface vlan 20
SW-L3(config-if)#ip address 192.168.1.254 255.255.255.0
SW-L3(config-if)#no shutdown

SW-L3(config)#interface loopback 0
SW-L3(config-if)#ip address 3.3.3.3 255.255.255.255

 

ขั้นตอนต่อไปคือการประกาศ Routing ospf ซึ่งสามารถ Config ได้ 2 แบบคือการใส่ Area ที่ในส่วนของ Routing และการใส่ Area ที่ตรงส่วนของ Interface

Router R2 และ Router ABR2 มีการ Config แบบใส่ Area ตรงส่วนของ Routing รูปแบบ Config ตามด้านล่าง ในรูปแบบนี้ต้องศึกษาเรื่องของ Network IP และค่า Wildcard Mask ต้องใส่ค่าให้ถูกต้องโดยต้องมีค่าตรงกันกับ Router ฝั่งตรงข้าม

R2(config)#router ospf 2
R2(config-router)#network 10.10.10.8 0.0.0.3 area 0
R2(config-router)#network 1.1.1.1 0.0.0.0 area 1
R2(config-router)#network 10.10.10.4 0.0.0.3 area 1

ABR2(config)#router ospf 1
ABR2(config-router)#network 10.10.10.8 0.0.0.3 area 0
ABR2(config-router)#network 2.2.2.2 0.0.0.0 area 0
ABR2(config-router)#network 172.17.1.0 0.0.0.3 area 2

 

Router R1 และ SW-L3 มีการ Config แบบใส่เลข Process-ID และ Area ไว้ที่ Interface รูปแบบ Config ตามด้านล่าง

R1(config)#router ospf 4
R1(config-router)#router-id 4.4.4.4
R1(config-router)#exit
R1(config)#interface s0/0
R1(config-if)#ip ospf 4 area 1
R1(config-if)#exit
R1(config)#interface f0/0
R1(config-if)#ip ospf 4 area 1
R1(config-if)#exit
R1(config)#interface loopback 0
R1(config-if)#ip ospf 4 area 1

SW-L3(config)#ip routing
SW-L3(config)#router ospf 3
SW-L3(config-router)#router-id 3.3.3.3
SW-L3(config-router)#exit

SW-L3(config)#interface g0/0
SW-L3(config-if)#ip ospf 3 area 2
SW-L3(config-if)#exit
SW-L3(config)#interface loopback 0
SW-L3(config-if)#ip ospf 3 area 2
SW-L3(config-if)#exit
SW-L3(config)#interface vlan 20
SW-L3(config-if)#ip ospf 3 area 2
SW-L3(config-if)#exit

ตรวจสอบ Routing Table ของ SW-L3 จะได้ตามด้านล่าง

 

ตรวจสอบ Routing Table ของ Router ABR2 จะได้ตามด้านล่าง

 

ตรวจสอบ Routing Table ของ Router R2 จะได้ตามด้านล่าง

 

ตรวจสอบ Routing Table ของ Router R1 จะได้ตามด้านล่าง

 

ดูตัวอย่างวีดีโอ OSPF Interface และ Network type ได้ตามด้านล่าง

 

ดูวีดีโอเพิ่มเติมเกี่ยวกับ OSPF ได้ ที่ Playlist ด้านล่าง

https://www.youtube.com/watch?v=7JM52rYkU2w&list=PLxTcKTJPFY7NganNB0R3PpvfbbtHQJ5JO

หวังว่าบทความนี้คงจะก่อให้เกิดประโยชน์ไม่มากก็น้อยสำหรับผู้ที่ทำงานอยู่ในแวดวงไอทีนะครับ

ขอบคุณครับ

-------------------------------------------------------------------------------------------------------

บทความ Network

บทความ Linux

บทความ Certificate